Laravel 8 EP03 แก้ไขฟอร์มลงทะเบียนของ Breeze

Founder, MyCoding.Academy
วิศวกรไฟฟ้าและโทรคมนาที่หลงไหลการเขียนโปรแกรม เลยได้ทำงานประจำช่วงหนึ่งทางด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์ ปัจจุบันก็ยังทำงานเป็นฟรีแลนซ์ทางด้านการเขียนโปรแกรมอยู่นะครับ

สำหรับในบทความนี้จะเริ่มเจาะลึกเรื่องการเขียนโปรแกรมโดยใช้ Laravel Framework กันมากขึ้นนะครับ โดยเราจะทำการแก้ไขฟิลด์ลงทะเบียนซึ่งเดิมจะมีฟิลด์เก็บทั้งชื่อและนามสกุลในช่องเดียวกัน เราจะแก้เป็นการเปลี่ยนเป็นสองช่องสำหรับเก็บชื่อตัว (First Name) และชื่อสกุล (Last Name) นะครับ ซึ่งเราจะต้องแก้หลายส่วนทั้งฐานข้อมูล วิว คอนโทรลเลอร์ แต่รับรองว่าไม่ยากแน่นอนครับ

Laravel 8 EP03 แก้ไขฟอร์มลงทะเบียนของ Breeze

สำหรับในบทความนี้จะเริ่มเจาะลึกเรื่องการเขียนโปรแกรมโดยใช้ Laravel Framework กันมากขึ้นนะครับ โดยเราจะทำการแก้ไขฟิลด์ลงทะเบียนซึ่งเดิมจะมีฟิลด์เก็บทั้งชื่อและนามสกุลในช่องเดียวกัน เราจะแก้เป็นการเปลี่ยนเป็นสองช่องสำหรับเก็บชื่อตัว (First Name) และชื่อสกุล (Last Name) นะครับ ซึ่งเราจะต้องแก้หลายส่วนทั้งฐานข้อมูล วิว คอนโทรลเลอร์ แต่รับรองว่าไม่ยากแน่นอนครับ

สำหรับท่านที่ต้องการดูรายละเอียด ก็สามารถคลิกที่คลิปวิดีโอได้เลยนะครับ

การทำงานของ  Application คร่าวๆ

สำหรับการทำงานของ Application คร่าวๆ คือเมื่อเราทำการเรียก URL หลักของ Application เช่น http://localhost:8000 ตัว Web Server ในกรณีนี้คือ Laravel Local Web Server จะทำการเรียกไฟล์ public\index.php ขึ้นมาทำงาน โดยการสร้าง Application Instance แล้วทำการดำเนินการกับ Request ที่ผู้ใช้ส่งมา แล้วก็ส่งค่า Response ซึ่งส่วนใหญ่เป็น HTML กลับไปยัง Browser ครับ โดยในการ Application ขึ้น Server สำหรับใช้งานจริงหรือเรียกว่า Production Server เราจะทำการกำหนดให้โฟลเดอร์ public ของ Application เป็น Document Root ครับ

Laravel 8 EP03 แก้ไขฟอร์มลงทะเบียนของ Breeze
Watch the video

สำหรับท่านที่ต้องการดูรายละเอียด ก็สามารถคลิกที่คลิปวิดีโอได้เลยนะครับ

การทำงานของ  Application คร่าวๆ

สำหรับการทำงานของ Application คร่าวๆ คือเมื่อเราทำการเรียก URL หลักของ Application เช่น http://localhost:8000 ตัว Web Server ในกรณีนี้คือ Laravel Local Web Server จะทำการเรียกไฟล์ public\index.php ขึ้นมาทำงาน โดยการสร้าง Application Instance แล้วทำการดำเนินการกับ Request ที่ผู้ใช้ส่งมา แล้วก็ส่งค่า Response ซึ่งส่วนใหญ่เป็น HTML กลับไปยัง Browser ครับ โดยในการ Application ขึ้น Server สำหรับใช้งานจริงหรือเรียกว่า Production Server เราจะทำการกำหนดให้โฟลเดอร์ public ของ Application เป็น Document Root ครับ